Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Clamator coromandus
Clamator coromandus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Cuculus coromandus Linnaeus, 1766
ชื่อสามัญ::
-
Chestnut-winged Cuckoo
ชื่อไทย:
-
นกคัคคูหงอน
-
นกคัดคูหงอน
ชื่อท้องถิ่น::
-
มาลอรีมา
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
Muangpai Suetrong
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
สวนยาง ชายป่า ป่ายางแดง
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พะเยา
-
นนทบุรี
-
ระนอง, อุตรดิตถ์, นครสวรรค์
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
พระนครศรีอยุธยา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
โรงไฟฟ้าวังน้อย อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การกระจายพันธุ์ :
-
นกอพยพ
-
พบได้ตามป่าโปร่ง หรือตามหมู่บ้านและสวน หากินตามกิ่งก้านของต้นไม้ที่มีใบค่อนข้างแน่นทึบ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ปากสีดำเรียวแหลมและโค้งเล็กน้อย หางยาว ด้านบนลำตัวและมีหงอนยาวที่หัวสีดำ ปีกสีน้ำตาลแดง มีแถบสีขาวบริเวณคอด้านบน ด้านล่างลำตัวสีขาว ขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีดำ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
เลี้ยงไว้ดูเล่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
Nakhon ratchasima
NSM
Bangkok
NSM
Bangkok
NSM
Uthai thani
NSM
-
NSM
-
NSM
-
NSM
-
NSM
Rayong
NSM
Rayong
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
นกในพื้นที่ปกปักทรัพยากรสวนร่มเกล้ากัลปพฤกษ์
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Encaustes opaca
Buchanania sessifola
นกโกโรโกโส
Carpococcyx
เถาวัลย์
Sarcostemma viminale
Microlepia speluncea
Potamon stoliczkanum
Previous
Next